เว็บไซต์สำหรับเก็บผลงานประเมิน PA
นางสาวจุฑามาศ เอี่ยมเกตุ
ตำแหน่ง ครู
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒
ปีการศึกษา 2567
เว็บไซต์สำหรับเก็บผลงานประเมิน PA
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 15.58 ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาตร์และเทคโนโลยี
- วิชา วิทยาศาสตร์ 2 ม.1 จำนวน 13.75 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- กิจกรรมลูกเสือ-ยุวกาชาด จำนวน 55 นาที/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุม จำนวน 55 นาที/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 1 ชั่วโมง 50 นาที/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 11 ชั่วโมง/สัปดาห์
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 16.67 ชั่วโมง /สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รหัสวิชา ว21103 จำนวน 1.67 ชั่วโมง/สัปดาห์ รหัสวิชา ว21216 จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
รหัสวิชา ว23103 จำนวน 1.67 ชั่วโมง/สัปดาห์ รหัสวิชา ว23216 จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
รหัสวิชา ว21107 จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์ รหัสวิชา ว30297 จำนวน 1.67 ชั่วโมง/สัปดาห์
รหัสวิชา ST21103จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์ รหัสวิชา ST23103จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- กิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุม จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
- กิจกรรมสาธารณประโยชน์ จำนวน .......... นาที/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 1.67 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 1 ชั่วโมง /สัปดาห์
เป้าหมายเชิงปริมาณ
1. ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รายวิชาวิทยาศาสตร์ร้อยละ 70 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์
2. ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ร้อยละ 80 มีความพึงพอใจใน การจัดบรรยากาศการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับดี
เป้าหมายคุณภาพ
1. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้นโดยผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
2. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์
3. ผู้เรียนมีความพึงพอใจในการจัดบรรยากาศการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับดี
4. ผู้สอนได้แนวทางการจัดการเรียนการสอนโดยการปรับใช้การเขียนแผนที่ความคิด (Concept mapping) ซึ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกสรุปสาระสำคัญและเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของเรื่องที่เรียนเพื่อสร้างเป็นองค์ความรู้ด้วยตนเอง รายวิชาวิทยาศาสตร์
ประเด็นท้าทายเรื่อง
การแก้ปัญหาความสามารถในการสรุปสาระสำคัญและเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของเรื่องที่เรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รายวิชาวิทยาศาสตร์ โดยจัดการเรียนรู้แบบการเขียนแผนที่ความคิด จากแนวคิดของ Buzan
มีการจัดทำรายวิชาและหน่วยการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร
ออกแบบหน่วยการเรียนรู้โดยการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ท้องถิ่น และเหมาะกับผู้เรียน
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์
สร้างและพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้สอดคล้องกับกิจกรรม
การเรียนรู้ผู้เรียนมีกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับสื่อ นวัตกรรม
วิทยาศาสตร์ (ว21102), (ว21103, ว21216)
การจัดกิจกรรมโฮมรูมเช้าทุกวันและส่งเสริม
ให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมอย่างหลากหลาย
มีการอบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และค่านิยมความเป็นไทยที่ดีงาม
มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียนรายบุคคลและประสาน
ความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียน
ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
การจัดทำรายงานและผลการดำเนินงานของโรงเรียน
3.1 พัฒนาตนเอง
อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่ง การใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
การเข้าร่วมอบรมและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
3.2 มีส่วนร่วมในการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ
การเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ฯ
นำองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้